บันได 6 ขั้น ในการเรียนภาษาอังกฤษ (ขั้นที่ 1)

  • admin
  • 14 ก.พ. 2559
  • 61,799
Advertisement

จากการที่ได้ทดลองสอนภาษาอังกฤษแบบวิจัยในชั้นเรียนพบว่าการเรียนภาษาอังกฤษให้ได้ผลเบื้อต้นผู้เรียนต้องได้รับการปลูกฝังไปตามลำดับขั้น 6 ขั้นตอนให้ชัดเจนเสียก่อน คือ

ขั้นที่ 1. ต้องรู้จัก วิธีการสร้างศัพท์ , สร้างคำ (Word Formation)
(ตัวอย่าง การเติม Prefix / Suffix)

ขั้นที่ 2. ต้องรู้จัก อักขระวิธี (Parts of Speech) ส่วนต่างๆ ที่จะต้องนำไปประกอบประโยค

ขั้นที่ 3. ต้องจดจำเรื่อง กาล (Tenses) ทั้ง 24 Tenses ทั้ง Active Voice และ Passive Voices

ขั้นที่ 4. ต้องพยายามเข้าใจการใช้ Tenses ทั้ง 24 โดยหมั่นสังเกต (แม้จะไม่แน่นอนก็ตามที)

ขั้นที่ 5. ต้องรู้จักประโยค (Sentences)

ขั้นที่ 6. ต้องรู้จัก กริยาระหว่าง , กริยาเชื่อม , กริยากิตก์ (Participles)

ดำเนินการไปตาม 6 ขั้นตอนนี้แล้วนักเรียนสามารถเรียนอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว แม่นยำ มั่นใจ

บันไดความสำเร็จเรียนภาษาอังกฤษขั้นที่ 1

1.1 Prefixation คือ การสร้างคำใหม่โดยการลงปัจจัยหน้าคำศัพท์แล้วได้คำใหม่ขึ้นมา ซึ่งก็เป็นที่นิยมกันมากในภาษาอังกฤษ การสร้างคำแบบนี้ สามารถจัดเป็นกุล่มได้ 10 กลุ่มใหญ่ ดังนี้

กลุ่มที่ 4 : mis, - mal, - pseudo. ลงแล้วแสดงลักษณะ “แปลกปลอม ม เก๊ , แอบแฝง , เช่น

mis (ผิด , แปลก)+adjustment = misadjustment (ความไม่ปรองดองกัน)
mal (ขาด) + nutrition = malnutrition (ขาดอาหาร)
pseusdo (แฝง) + nym = pseudonym (นามแฝง)

กลุ่มที่ 5 : atch, - super, - out, - sur, - over, - under, - hyper, - mini, - ultra.
ลงแล้วแสดง “ขนาด” หรือ “ปริมาณ” เช่น

misArch (สำคัญ) + enemy = archenemy (ศัตรูตัวสำคัญ)
super (เหนือ) + man = superman (เหนือมนุษย์)
out (นอก,ออก) + standing = outstanding (โดดเด่น)
sur (เพิ่ม) + charge = surcharge (เก็บเพิ่ม)
over (นอกเหนือ) + time = overtime (ล่วงเวลา)
under (รอง) + secretary = undersecretary (รัฐมนตรีช่วย)
hyper (เกิน) + critical = hypercritical (ตำหนิเกินควร)
mini (เล็กน้อย) + bus = minibus (รสบัสขนาดเล็ก)
ultra (เกิน) + modern = ultramodern (ล้ำยุค)

กลุ่มที่ 6 : sub, - inter, - trans. ลงแล้วบอกความหมายถึง “ที่ตั้ง, ที่วาง” เช่น

Sub (ใต้,ภายใน) + conscion = Subconscious (จิตใต้สำนึก)
inter (ระหว่าง) + national = international (ระหว่างประเทศ)
nter (ระหว่าง) + phone = nterphone (โทรศัพท์ภายใน)
trans (ข้าม,ตลอด) + action = transaction (กระทำต่อเนื่อง)

กลุ่มที่ 7 : fore, - pre, - re, - post, - ex. ลงแล้วบ่งบอกถึง “จุดเวลา” หรือ “เวลา” นั่งเอง เช่น

fore (ก่อน) + noon = forenoon (ก่อนเที่ยง)
pre (ก่อน) + wat = prewat (ก่อสงคราม)
pre (ก่อน) + history = prehistory (ก่อนประวัติศาสตร์)
re (ทวน,ย้อน) + appear = reappear (ปรากฏซ้ำ)
post (หลัง) + date = postdate (วันภายหลังวันจริง)
ex (ก่อน)  + wife = exwife (ภรรยาคนก่อน)

กลุ่มที่ 8 : uni, - multi, - bi, - tri, -poly, - mono. ลงแล้วบอกความหมายในเชิงประมาณ/จำนวน เช่น

uni (หนึ่ง,เดียว) + sexual = unisexual (พันธุ์เดียว)
multi (หลากหลาย) + form = multiform (หลายหลายรูปแบบ)
bi (สอง) + cycle = bicycle (จักรยานสองล้อ)
di (สอง)  + lemma = dilemma (สองเขา)
tri (สาม) + angle                = triangle (รูปสามเหลี่ยม)
poly (มาก,หลากหลาย) +technic = polytechnic (หลากหลายวิชา)
mon (หนึ่งเดียว) + plane = monoplane (เครื่องบินปีกชั้นเดียว)
กลุ่มที่ 9 : be, - em, - en, - a. ลงแล้วชี้ความหมายไปทาง “ทำให้อยู่ในอาการ” เช่น

be (ทำให้เป็น) + friend = befriend (ทำให้เป็นเพื่อน)
em (ทำให้มี) + power = empower (ทำให้มีพลัง)
em (ทำให้เป็น) + body = embody (ทำให้เป็นรูปร่าง)
en (ทำให้) + light = enlight (ทำให้สว่าง)
a (ทำให้) + bloom = abloom (ทำให้เบ่งงาน)

กลุ่มที่ 10 : semi, - proto, - auto, - neo, - vice, - pan. ลงแล้วมีความหมาย
“คล้อยตามความหมายเดิม” เช่น

semi (รอง) + final = semifinal (รอบรองสุดท้าย)
proto (เดิม) + type = prototype (แบบเดิม)
auto (อัตโนมัติ) + car = autocar (รถแล่นโดยอัตโนมัติ)
neo (ใหม่) + classic = neoclassic (สถาปัตยกรรมใหม่)
vice (รอง,แทน) + president = vicepresident (รองประธาน)
pan (รวบรวม) + Asianism = pan-Asianism (สิทธิรวมเอเชียทั้งหมด)

1.2 Suffixation คือ การสร้างคำใหม่โดยการลงปัจจัยท้ายคำศัพท์แล้วได้คำใหม่ขึ้นมา ซึ่งก็เป็นที่นิยมกันมากในภาษาอังกฤษ การสร้างคำแบบนี้ สามารถจัดเป็นกุล่มได้ 7 กลุ่มใหญ่ ดังนี้

กลุ่มที่ 1 : al, - tion, - age, - ing, - ery, - y, - ment, - ment, - sion, - ation, - ance, - asion, - ification. ปัจจัยเหล่านี้ลงท้ายคำกริยา (Verb) แล้วทำคำกริยาให้กลายเป็นคำนาม (Noun) เช่น

arrive + al = arrival (การมาถึง)
produce + tion = production (การผลิต)
expect + age = expectage (ความคาดหวัง)
bond + age = bondage (ความผูกพัน)
speak + ing = speaking (การพูด)
robb + ery = robbery (การปล้น)
discover + y = discovery (การค้นพบ)
govern + ment = government (การปกครอง)
decide + sion = decidesion (การตัดสินใจ)
ignor +ance = ignorance (ความไม่รู้)
classify + ification = classifyification (แบ่งแยก/การจำแนก)

กลุ่มที่ 2 : ty, - ity, - cy, - ness, - th. ปัจจัยเหล่านี้ลงท้ายคุณนามหรือคุณศัพท์ (Adjective) ใดๆ แล้วทำคำคุณนามหรือคุณศัพท์นั้นๆ ให้กลายเป็นคำนาม (Noun) เช่น

honest + ty = honestty (ความซื่อสัตย์)
difficult + ty = difficulty (ความยากลำบาก)
pure + ity = purity (ความบริสุทธิ์)
normal + cy = normalcy (ภาวะปกติ)
four + th = fourth (ที่สี่)

กลุ่มที่ 3 : dorm, - ess, - hood, - ship, - ism, - Less, - ure, - man. ปัจจัยเหล่านี้ลงท้าย
นามศัพท์หรือกริยาศัพท์ใดๆ แล้วทำนามศัพท์หรือกริยาศัพท์นั้นๆ ให้กลายเป็นคำนาม “แสดงภาวะ
หรือกาการ” เช่น

king + dom = kingdom (ราชอาณาจักร)
act + ess = actress (ผู้แสดงหญิง,นางละคร)
host + ess = hostess (เจ้าภาพหญิง)
child + hood = childhood (วัยเด็ก)
leader + ship = leadership (ความเป็นผู้นำ)
buddha + ship = leadership (ความเป็นผู้นำ)
tire + less = tireless (ไม่เหนื่อย)
please + ure = pleasure (ความยินดี)
country + man = countryman (ชาวชนบท)

กลุ่มที่ 4 : er, - ees, - or, - ain, - ar, - ess, - ent, - ist, - ee, - yer, - ster, - therapy, - an. ปัจจัยเหล่านี้ลงท้ายนามศัพท์หรือกริยาศัพท์ใดๆ แล้วทำนามศัพท์หรือกริยาศัพท์นั้นๆ ให้กลายเป็นคำนาม แสดงอาชีพ (Professional) หรือผู้ทำ (Doer) เช่น

employ + er = employer (ผู้ว่าจ้าง)
mountain + eer = mountaineer (คนไต่เขา)
visit + or = visitor (ผู้มาเยือน)
beg + ar = beggar (คนขอทาน)
host + ess = hostess (เจ้าภาพผู้หญิง)
study + ent = student (นักศึกษา)
art + ist = artist (นักจิตรกร)
devote + ee = devotee (ผู้อุทิศให้)
law + yer = lawyer (นักกฎหมาย)
gang + ster = gangster (พวกผู้ร้าย)

กลุ่มที่ 5 : ize, - ate, - ise, - en, - ify. ปัจจัยเหล่านี้ลงท้ายนามศัพท์หรือกริยาศัพท์ใดๆ แล้วทำนามศัพท์นั้นๆ ให้กลายเป็นกริยาซึ่งแปลว่า “ทำให้” เช่น

colony + ize/ise = colonize (ทำให้เป็นเมืองขึ้น)
facility + ate = facilitate (ทำให้สะดวกสบาย)
soft + en = soften (ทำให้นุ่ม)
sad + en = sadden (ทำให้เศร้าโศก)
simple + ify = simplify (ทำให้ง่าย)

กลุ่มที่ 6 : able, - some, - ed, - tive, - ible, -ative, - ish, -y, - ous, - ous, - eous, - al, - ate, - ful, - ese, - ic, - fold, - en, - ory, - ary, - ial, - ing, - less, - ly, - most, - ular. ปัจจัยเหล่านี้ลงท้ายนามศัพท์หรือกริยาศัพท์ใดๆ แล้วทำนามศัพท์หรือกริยาศัพท์นั้นๆ ให้กลายเป็นคำนามหรือคุณศัพท์ (Adjective) เช่น

fashion + able = fashionable (ทันสมัย/หรูหรา)
trouble + some = fashionable (น่ายุ่งมาก)
talent + en = talent en (มีความสามารถพิเศษ)
act + tive = active (คล่องแคล่ว)
response + ible = responsible (รับผิดชอบ)
talk + ative = talkative (ช่างคุย/พูด)
fool + ish = foolish (เหมือนคนโง่)
dust + y = dusty (เต็มไปด้วยฝุ่น)
danger + ous = dangerous (มีอันตราย)

กลุ่มที่ 7 : ly, - ward, - ways, - wise. ปัจจัยเหล่านี้ลงท้ายนามศัพท์ใดๆ แล้วทำนามศัพท์นั้นๆ ให้เป็นกริยาวิเศษณ์ (Adverb) เช่น

happy + ly = happily (อย่างมีความสุข)
east + ward = eastward (ไปทางตะวันออก)
side + ways = sideways (ไปทางข้าง)
clock + wise = clockwise (ไปตามนาฬิกา)


บันได ขั้นที่ 2 คลิกที่นี้...

เนื้อหาความรู้ โดย พระราชวรมุนี คณะกรรมการสภาการศึกษา (สกศ.) คณะบดีคณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬมลงกรณราชวิทยาลัย